รสของอาหารและสรรพคุณของอาหาร

หมวดหมู่ของบล็อก: 

สวัสดีครับ ผมมีหนังสือเล่มหนึ่งเกี่ยวกับผักพื้นบ้านเห็นว่าน่าสนใจ และมีประโยชน์ จึงนำมาฝากครับ

ความสัมพันธ์ระหว่างรส ของอาหารและสรรพคุณของอาหาร

รส

 สรรพคุณทางอาหาร

 รสฝาด

รสหวาน

รสขม

รสเมาเบื่อ

รสเผ็ดร้อน

รสมัน

รสหอมเย็น

รสเค็ม

รสเปรี้ยว

- ฝาดสมาน  ปิดธาตุ  หากรัปทานมากไป  ทำให้ฝืดคอ  ท้องอืด ท้องผูก

 - ซึมซาบไปตามเนื้อ  ทำให้ชุ่มชื่น  บำรุงกำลัง  หากรับประทานมากไป  ทำให้ลมกำเริบ  ง่วงนอน เกียจคร้าน

- แก้โลหิตเป็นพิษ  ดีพิการ  เพ้อคลั่ง  หากรับประทานมากไป ทำให้กำลังตก  อ่อนเพลีย

- แก้พิษ ฆ่าพยาธิ

- แก้โรคกองลม  ลมจุกเสียด ปวดท้อง  ลมแน่น ลมป่อง หากรับประทานมากไป  ทำให้เกิดอาการอ่อนเพลีย และเผ็ดร้อน

-แก้เส้นเอ็นพิการ ปวดเสียว ขัดยอก กระตุก

- แก้ลมมืดหน้าตาลาย ลมวิงเวียน บำรุงหัวใจ

- สรรพคุณ ซึมซาบไปตามผิวหนัง ประดง ชา คัน หากรับประทานมากไป ทำให้มีอาการกระหายน้ำ ร้อนใน

- แก้เสมหะพิการ กัดฟอกเสมหะ  กระตุ้นน้ำลาย  เจริญอาหาร  หากรับประทานมากไปทำให้ ท้องอืด  แสลงแผล ร้อนใน

      ข้อมูลจาก หนังสือผักพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง โดยชมรมผักพื้นบ้าน

 

 

ความเห็น

คุณเสรีสิทธิ์ รสของอาหารนี้เป็นเรื่องสำคัญนะคะ บางคนพลอยกินไม่ได้ก็เพราะรสของอาหารนี้แหละ ที่นำเสนอนี้ดีมาก ยังใช้เป็นหลักในการบำบัดสุขภาพให้แข็งแรงได้อย่างดี

เข้ามารับความรู้ครับ ขอบคุณที่นำเสนอสิ่งดีๆมีสาระครับ

สำหรับข้อมูลดีๆน่าสนใจ

Laughingทำวันนี้ให้ดีที่สุด เวลาชีวิตน้อยลงทุกวัน

ขอบคุณมากนะครับ

ทำความดีนะครับ จะได้มีความสบายใจ   msn/krawmovie@hotmail.com

มิน่าละเมื่อวานกินน้ำหวานมาก.....ขี้เกียจ..และง่วงนอนมาก...ไม่รู้ว่าเป็นอะไร

คิดให้แตกต่าง...แต่อย่าแตกแยก

ทานเผื่อบำบัดโรค ขึ้นกับการเลือกทานให้เป็น และมีคุณค่า เหมาะกับสุขภาพของแต่ละคน


ขอบคุณค่ะสำหรับข้อมูลที่น่าสนใจ

อาหารรสต่างๆท่เค้าเรียกกินอาหารตามหลักหยิน -หยางตามตำราจีนหรือเปล่า

จะได้รู้ว่ากินรสอะไรมากไปก็ไม่ดี  ต้องกินหลากหลายรสน่าจะดีนะคะ