บิดาแห่งพันธุศาสตร์
Mendel
วันเดือนปีเกิด | 20 กรกฎาคม 1822 Heinzendorf bei Odrau , เอ็มไพร์ออสเตรียปัจจุบัน สาธารณรัฐเช็ก |
---|---|
เสียชีวิต | 6 มกราคม 1884 (อายุ 61) เบอร์โน , Moravia , ออสเตรียฮังการี |
สัญชาติ | เอ็มไพร์ของออสเตรียฮังการี |
เขตข้อมูล | พันธุศาสตร์ |
สถาบันการศึกษา | Abbey ของเซนต์โทมัสใน Brno |
โจอี้ | จาก University of Olomouc มหาวิทยาลัยเวียนนา |
หรือเป็นที่รู้จักสำหรับ | การค้นพบ พันธุศาสตร์ |
เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล (Gregor Johan Mendel) บาทหลวงชาวออสเตรีย ซึ่งได้รับยกย่องว่าเป็น บิดาแห่งพันธุศาสตร์ ได้อธิบาย
ลักษณะบางประการของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏในรุ่นลูก ซึ่งเป็นผลมาจาก
การถ่ายทอดลักษณะจากพ่อแม่ ผ่านเซลล์สืบพันธุ์
เมนเดลทำการศึกษาทดลองการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
โดยการผสมพันธุ์ถั่วลันเตาต้นสูงทุกรุ่นกับต้นเตี้ยแคระ ผลปรากฏว่า
รุ่นลูกหรือรุ่น F1 (first filisl generation) ซึ่งเป็นต้นสูงทุกต้น
เมื่่่อนำเอาเมล็ดที่ได้จากการผสมพันธุ์ในดอกเดียวกันของรุ่น F1
ไปเพาะเมล็ด จะได้รุ่นหลานหรือรุ่น F2 (second filial generation) ที่มี
ต้นสูงมากกว่าต้นเตี้ยในอัตราส่วน 3:1
เมนเดลได้อธิบายผลการทดลองว่า ลักษณะต้นสูงที่ปรากฏในทุก
รุ่นเรียกว่า ลักษณะเด่น (dominant) ส่วนลักษณะต้นเตี้ยที่มีโอกาส
ปรากฏบางรุ่นเรียกว่า ลักษณะด้อย (recessive)
ตามกฎของเมนเด็ลมรดก (หรือตามกฎของเมนเด็ลหรือ Mendelism พันธุศาสตร์) พันธุกรรม จากสิ่งมีชีวิตลักษณะแม่เพื่อลูกหลานของพวกเขาเป็นฐานมากของ พันธุศาสตร์ . พวกเขาได้เริ่มต้นจากการทำงานของ เกรเกอร์โยฮันเมนเดล ตีพิมพ์เผยแพร่ในปี 1865 และ 1866 ซึ่งเป็น"ค้นพบอีกครั้ง"ในปี 1900 และได้เริ่มแย้งมาก เมื่อพวกเขาถูกรวมเข้ากับ ทฤษฎีโครโมโซมของมรดก โดย โทมัสมอร์แกนล่า ในปี 1915 พวกเขากลายเป็นแกนหลักของพันธุศาสตร์คลาสสิก
ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Gregor_Mendel
http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science03/32/2/genetic/content/gregor.html
ขอบคุณบ้านสวนพอเพียง
- บล็อกของ Aree
- อ่าน 5831 ครั้ง
ความเห็น
นกฮูก
20 กรกฎาคม, 2011 - 10:32
Permalink
ถึงว่า
วันนี้หน้า กูเกิ้ลเป็นรูปถั่วลันเตา พอเอาเม๊าส์ไปชี้ ดู ก็ ขึ้นว่า เกรเกอร์ เมนเดล
"ขอบคุณน้ำใจที่แบ่งปัน ขอบคุณบ้านสวนพอเพียง"
แดง อุบล
20 กรกฎาคม, 2011 - 11:20
Permalink
มิน่า
อย่างที่น้องฮูกว่า :confused:
"เชื่อในผล แห่งการทำความดี"
ลุงแอ้ด
20 กรกฎาคม, 2011 - 11:28
Permalink
ตอนเรียนพันธุศาสตร์ที่เมืองไท
ตอนเรียนพันธุศาสตร์ที่เมืองไทย จะต้องเรียนการผสมพันธุ์แมลงหวี่ครับ เอาแมลงหวี่ตาแดงกับตาไม่แดง ปีกงอกับปีกไม่งอมาผสมพันธู์กัน แล้วก็ต้องนับลูกแมลงหวี่ว่าออกมาแล้ว มีหน้าตารูปร่างอย่างไร สนุกดีครับเรียนพันธุศาสตร์ สนุกตรงที่ต้องทำอาหารให้แมลงหวี่กิน เอากล้วยน้ำว้ามากวนครับ
Aree
20 กรกฎาคม, 2011 - 12:06
Permalink
แปลกดีค่ะ
แมลงหวีตัวเล็กนิดเดียว แค่นิ้วจับก็แบนแล้ว ไม่เคยสังเกตุ ว่าแมลงหวีมีตาแดงกับไม่แดงด้วย เคยเห็นแต่พวกแมลงวัน ว่ามี หัวเขียวตัวผู้ ตัวเมียธรรมดา มีทั้งพันธุ์ตัวเล็ก และตัวใหญ่ กัดได้เจ็บก็มี ใครเคยถูกแมลงวันกัดบ้างค่ะ ขอบคุณค่ะ
rose1000
20 กรกฎาคม, 2011 - 13:25
Permalink
แมลงหวี่
แมลงหวี่ เป็นแมลงที่สำคัญทางพันธุ์ศาสตร์ ใช้ในการทดลอง ศึกษาวิจัย และใช้ในการเรียนการสอนวิชาพันธุ์ศาสตร์ ใครจบทางด้านนี้แล้วไม่เคยเลี้ยง ไม่เคยผสมพันธุ์แมลงหวี่ คงเป็นเรื่องแปลกน่าดู คุณอารีย์หยิบยกเอาเรื่องนี้มาเล่าแสดงว่าน่าจะจมาทางด้านนี้แน่เลย
Aree
20 กรกฎาคม, 2011 - 13:58
Permalink
หามิได้ ค่ะ
เกียวไม่ได้จบทางด้านนี้เลยค่ะ เกียวจบศิลปะ เพียวแต่เห็นว่าเห็นเป็นเรื่องราวของาพันธุศาสตร์ เกี่ยวกับพันะธุ์พืช(และสัตว์) น่าจะเป็นประโยชน์ได้บ้างค่ะ ขอบคุณค่ะ
วิศิษฐ์
20 กรกฎาคม, 2011 - 19:46
Permalink
คุณ Aree
วิชาการดีจริง ๆ ครับ..เคยเรียนผ่าน ๆ แต่นานมากแล้วครับ...จม ม.3 เรียนต่อสายอาชีพเลยไม่ค่อยจะทราบนะครับขอบคุณสำหรับข้อมูลดี ๆ นะครับ
jo korakod
20 กรกฎาคม, 2011 - 20:35
Permalink
กฏของเมนเดล
พ่อขยันทำสวน + แม่ขยันทำงานฝีมือ
F1 = :love:
facebook https://www.facebook.com/ninkmax