ส่งการบ้านลุงโรส(เจียวกู่หลัน)

หมวดหมู่ของบล็อก: 

หลังจากที่ลุงโรสมาเยี่ยมที่บ้าน และได้การบ้านเป็นเจียวกู่หลัน

ได้ทำการลงดินไว้แล้วเรียบร้อย

ติดตามการเจริญเติบโต

กำลังเลื้อยและเกาะกะว่าจะให้เค้าเลื้อยขึ้นไปที่ค้างองุ่นหน้าบ้านแม่

ที่เห็นอยู่หลังต้นเจียวกู่หลันคือต้นองุ่นไร้เมล็ดลำต้นประมาณเท่าขาผมแต่ไม่ได้บำรุงเลยมีแต่ใบ

ขอคุณบ้านสวนพอเพียงครับ....เอก

  • หมูเกษตร
  • ranking : สมาชิกทั่วไป
  • email : surat_a@nationgroup.com
  • วันที่สร้าง : 2007-03-22
  • จำนวนเรื่อง : 17
  • จำนวนผู้ชม : 33428
  • ส่ง msg :
  • โหวต 1 คน

นายหัวหมู
เกษตรควรรู้
Permalink : http://www.oknation.net/blog/atta
วันอังคาร ที่ 24 มีนาคม 2552

Posted by หมูเกษตร , ผู้อ่าน : 19568 , 14:11:21 น.  
หมวด : เกษตรกรรม

พิมพ์หน้านี้
โหวต 1 คน

  เจี่ยวกู้หลาน "ไม่ใช่โสม แต่ดีกว่าโสม" 
       เจี่ยวกู้หลาน หรืออีกชื่อ ซีแย่ตั่น เป็นพืชตระกูลหญ้าที่ขึ้นตามธรรมชาติ ประเภทแตงน้ำเต้าเจริญงอกงามอยู่ตามแถบภูเขาฉินหลง และเขตมณฑลทางใต้ของแม่น้ำแยงซีเกียงโดยเฉพาะทางด้านตะวันตกเฉียงใต้
       เดิม เจี่ยวกู้หลาน เป็นอาหารที่ใช้รับประทานแก้หิว ยามกระหาย ใช้เป็นยาแก้ไอ และแก้ร้อนใน ต่อมาก็เริ่มมีการค้นคว้าวิจัย และพัฒนาใช้เจี่ยวกู้หลานในการผลิตยาและเหล้า
       จากการศึกษาด้านคลีนิค และด้านเภสัชทั้งในประเทศจีน และต่างประเทศพบว่า เจียวกู้หลานเป็นสมุนไพรที่ใช้รับประทานประจำได้ ไม่ว่าจะใช้ทั้งต้นหรือทำการสกัดออกมา โดยจะประกอบด้วยตัวยา 50 ชนิด ซึ่งมีตัวยาที่เหมือนโสมคน 4 ชนิด Rd1 , Rd3 , Rd และ F2 รวมอยู่ด้วย ดังนั้น เจี่ยวกู้หลาน ไม่เพียงมีคุณสมบัติเทียบเท่าโสมคนเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้ได้อย่างสบาย โดยไม่ต้องกังวล ต่างจากโสมคน ซึ่งหากใช้เกินขีดปริมาณที่กำหนด อาจเกิดผลข้างเคียงได้
       เจี่ยวกู้หลาน ใช้บำรุงร่างกาย ระงับประสาท ช่วยให้นอนหลับ ลดความตื่นเต้น ลดความดันโลหิต ลดคลอเรสเตอรอล ฟอสฟอไลปีด และกรมไขมันอิสระ ลดน้ำตาลในเลือด ชลอความชรา ยืดอายุของเซลเพิ่มจำนวนอสุจิ รักษาโรคปวดหัวข้างเดียว ช่วยควบคุมน้ำหนักได้โดยไม่ต้องอดอาหาร ช่วยสร้างภูมิต้านทานโรคต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
       "ประวัติของเจี่ยวกู่หลาน"
       ในปี 1977 มีคนจีนเป็นชายหนุ่มคนหนึ่ง ชื่อ ศิว์สื้อหมิงเป็นเภสัชกร จบจากมหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ปักกิ่ง เข้าได้ทำงานที่สถาบันวิจัยสมุนไพรนครอานดัง มลฑลส่านซี จนกระทั่งในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ปี 1982 เขาได้ลางานชั่วคราวจากเพื่อไปเยี่ยมบ้านที่อำเภอ ผิงลี่ ระยะทางไกลประมาณ 50 กม. ในช่วงที่เขามาพักผ่อนที่บ้าน ก็ได้ใช้เวลาเสาะแสวงหาสุมนไพรตัวใหม่ ๆ ในอำเภอผิงลี่โดยการไปพูดคุยกับชาวบ้าน และหมอพื้นบ้าน เพื่อหาข้อมูลของสมุนไพร เขาได้พบสมุนไพรตัวใหม่ชนิดหนึ่ง ที่ชาวบ้านเรียกว่า "เสี่ยวโหม่งจูเถิง" ซึ่งมีประสิทธิภาพในการรักษาชาวบ้านที่เป็นโรคไขมันสูงในเลือด และโรคความดันโลหิตสูง ได้อย่างดี เขาดีใจมากที่ได้รับการยืนยันจากหมอพื้นบ้านและผู้ป่วยว่าสมุนไพรชนิดนี้ให้ ผลการรักษาได้หลายโรคจริง ๆ มันเป็นยาสมุนไพรวิเศษถูกใจตามความคาดหวัง ที่เขาเสาะแสวงหามานานหลายสิบปีแล้ว เมื่อเขากลับไปที่ห้องทำงาน สถาบันวิจัยเดิมของเขา เขาก็ได้นำสมุนไพรดังกล่าวไปศึกษาวิจัยทันที ตามตำราแผนโบราณจีน หญ้าชนิดนี้เรียกว่า "เจี่ยวกู้หลาน" ซึ่งแรกเริ่มนั้น เจี่ยวกู้หลาน เป็นอาหารที่ชาวบ้านใช้รับประทาน แก้หิวยามฤดูแล้ง ได้มีการบันทึก ในตำราไว้ ใช้เป็นยาแก้ไอ แก้ร้อนในต่าง ๆ
       เจี่ยวกู้หลาน มีชื่อจีนหลายชื่อ เช่น ซิเย่ตั่น จิ้วฮวงเปิ้นเฉา และหนงจิ้งเฉวิยนหู แต่ชื่อทางวิทยาศาสตร์ คือ Gynostemmapen taphyllum Makino ในวงศ์ Cucurbitaceae ที่ญี่ปุ่นเรียกว่า อะมาซาซูรู (Amaehazuru) ในเมืองไทยเคยมีการนำจากประเทศญี่ปุ่น ไต้หวัน และจีน เข้าปลูกครั้งแรกในปี พ.ศ.2537 เรียกชื่อไทยว่า ชาปัญจขันธ์ ชาทิ กวนอิม หรือซาสตูล เพราะเคยนำมาปลูกที่จังหวัดสตูลได้ผลดีเป็นครั้งแรก ปัจจุบันมีการปลูกที่เชียงใหม่ เช่น ที่วัดอุโมงค์ สวนพุทธธรรมเชียงใหม่ สันกำแพง และในอีกหลายแห่งของประเทศ เจี่ยวกู้หลานเป็นพืชล้มลุกชนิดเถา เลื้อยขนานกับพื้นดิน รากงอกออกจากข้อเป็นประเภทแตงน้ำเต้า มีใบ 3-5 ใบ ด้านบน และด้านใต้ใบมีขนอ่อนสีขาวปกคลุม เป็นพืชที่ขึ้นตามธรรมชาติ เจริญงอกงามอยู่บนแถบเขตภูเขาฉินหลง และเขตมณฑลทางใต้ของแม่น้ำแยงซีเกียง โดยเฉพาะทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ สารสำคัญในเจี่ยวกู้หลานจะมีมาก อีกทั้งต้นก็เจริญเติบโตง่าย เจี่ยวกู้หลานจึงถูกขานชื่อว่าเป็น "โสมคนทางใต้"
       ในประเทศไทย ทางกระทรวงเกษตร ได้นำมาเผยแพร่นานแล้ว แต่อาจจะมีปัญหาในด้านการรักษาต้นพันธุ์ ยังไม่ค่อยแพร่หลายนัก เพราะเป็นพืชล้มลุกและตายง่าย ในฤดูฝนจะหยุดเจริญ ในขณะที่ส่วนใต้ดินยังจะเจริญดีอยู่ อย่างไรก็ตามมีผู้สนใจ และปลูกเจี่ยวกู้หลานในบางแห่ง เพื่อผลิตเป็นเครื่องดื่มมีรสชาติแตกต่างกันบ้าง รสหวานบ้าง รสขมบ้าง ในรูปของชาสมุนไพรเสริมสุขภาพ ออกจำหน่ายแล้ว ส่วนที่นำมาใช้ คือ ส่วนเหนือดินของพืชที่มีอายุ 4-5 เดือนขึ้นไป และเก็บจากต้นมาใช้ได้ 2-3 ครั้งต่อปี นอกจากนี้ องค์การเภสัชกรรม กระทรวงสาธารณสุขก็ได้มีการศึกษาปัจขันธ์ โดยการนำไปทำการแพร่พันธุ์แบบเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และนำไปปลูกได้ดี และศึกษาคุณสมบัติของส่วนประกอบสำคัญในด้านยา และเครื่องสำอางค์อยู่
       "ผลการวิจัยทางชีวภาพ"
       มีรายงานในประเทศจีน ว่า ส่วนก้านและใบของเจี่ยวกู้หลาน มีสารสำคัญ เช่น ซาโปนิน ซึ่งสามารถเสริมภูมิคุ้มกันในสัตว์ทดรองได้ชัดเจนมาก โดยการออกฤทธิ์ต่อต้านฤทธิ์กดภูมิคุ้มกันของยารักษามะเร็ง เช่น cyclophosphamide ทำให้น้ำหนักอวัยวะที่สร้างภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้น เพิ่ม hemolysin เพิ่มจำนวน natural killer cells ซึ่งมีหน้าที่ทำลายเซลล์มะเร็ง และทำให้ผู้ที่ทดลองที่ทานเข้าไปแข็งแรงไม่รู้สึกอ่อนเพลียง่ายและทนทานต่อ ภาวะ trypoxia
       "คุณสมบัติทางเภสัชและคลีนิค"
       การศึกษาด้านคลีนิคและด้านเภสัชศาสตร์ พบว่าเจี่ยวกู้หลานเป็นสมุนไพรที่มีความปลอดภัย และใช้รับประทานประจำได้ ไม่ว่าจะใช้ทั้งต้นและใบ หรือทำการสกัดออกมาได้มีการใช้ในโรคต่าง ๆ โรคเรื้อรัง และส่วนกระตุ้นประสาทไม่ทำให้มีความผิดปกติ หรืออาการแพ้ใด ๆ จากการทดลองพิสูจน์ว่า เจี่ยวกู้หลานที่สกัดออกมานั้นสามารถลดไตรกลีเซอร์ไรล์ ในเลือดของสัตว์ทดลองที่มีไขมันสูงได้ ลดสารที่ได้จากปฏิกิริยาออกซิเดซัน เช่น ลิปิดเปอร์ออกไซด์ คอเลสสเตอรอล ฟอสฟอไลปิด กรดไขมันอิสระ เพิ่มพลังกำลังของหัวใจขาดเลือด ชลอความชรา ยืดอายุของเซลล์ และเพิ่มจำนวนอสุจิ เป็นต้น
      ********************************

ขอบคุณเนื้อหาสาระจาก OKNATION


ความเห็น

:good-job: ลุงเอกขยันทำการบ้านจังเลย :cheer3:

""

 

การมาส่งถึงบ้านเลยหลานอีฟ ถ้าไม่รอดกลัวโดนตำหนิแย่เลย :pointing:

EAKAPONG_36@hotmail.com Tel 087 959 9004

สงสัยจะสู้กับพี่องุ่นแน่ๆเลย โตวันโตคืนเลย เจียวกู่หลัน :cheer3: :cheer3:

ภาษาไทยเป็นภาษาของชาติไทย เรามาร่วมรณรงค์ใช้ภาษาไทยให้ถูกกันดีกว่าครับ

อยากให็โตเท่าต้นองุ่นเลยจังเลยคุณอำพล แต่คงเป็นไปไม่ได้ :sweating:

EAKAPONG_36@hotmail.com Tel 087 959 9004

เจียวกู่หลันเป็นผักหรือเป็นยาคะ

 

 

เป็นยาครับย่าวรรณ ลองอ่านดูตามนี้นะครับ ผมไปเห็นเจียวกู่หลันแปรรูปของแม่ของเลยเอามาชงชากิน กินแล้วรู้สึกได้ประมาณ 1อาทิตย์ มีอะไรดี ๆ เกิดขึ้น หรืออุปทานไปเอง แต่กินชาเจียวกู่หลันประจำไม่มีโทษครับ

  • หมูเกษตร
  • ranking : สมาชิกทั่วไป
  • email : surat_a@nationgroup.com
  • วันที่สร้าง : 2007-03-22
  • จำนวนเรื่อง : 17
  • จำนวนผู้ชม : 33428
  • ส่ง msg :
  • โหวต 1 คน

นายหัวหมู
เกษตรควรรู้
Permalink : http://www.oknation.net/blog/atta
วันอังคาร ที่ 24 มีนาคม 2552

Posted by หมูเกษตร , ผู้อ่าน : 19568 , 14:11:21 น.  
หมวด : เกษตรกรรม

พิมพ์หน้านี้
โหวต 1 คน

  เจี่ยวกู้หลาน "ไม่ใช่โสม แต่ดีกว่าโสม" 
       เจี่ยวกู้หลาน หรืออีกชื่อ ซีแย่ตั่น เป็นพืชตระกูลหญ้าที่ขึ้นตามธรรมชาติ ประเภทแตงน้ำเต้าเจริญงอกงามอยู่ตามแถบภูเขาฉินหลง และเขตมณฑลทางใต้ของแม่น้ำแยงซีเกียงโดยเฉพาะทางด้านตะวันตกเฉียงใต้
       เดิม เจี่ยวกู้หลาน เป็นอาหารที่ใช้รับประทานแก้หิว ยามกระหาย ใช้เป็นยาแก้ไอ และแก้ร้อนใน ต่อมาก็เริ่มมีการค้นคว้าวิจัย และพัฒนาใช้เจี่ยวกู้หลานในการผลิตยาและเหล้า
       จากการศึกษาด้านคลีนิค และด้านเภสัชทั้งในประเทศจีน และต่างประเทศพบว่า เจียวกู้หลานเป็นสมุนไพรที่ใช้รับประทานประจำได้ ไม่ว่าจะใช้ทั้งต้นหรือทำการสกัดออกมา โดยจะประกอบด้วยตัวยา 50 ชนิด ซึ่งมีตัวยาที่เหมือนโสมคน 4 ชนิด Rd1 , Rd3 , Rd และ F2 รวมอยู่ด้วย ดังนั้น เจี่ยวกู้หลาน ไม่เพียงมีคุณสมบัติเทียบเท่าโสมคนเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้ได้อย่างสบาย โดยไม่ต้องกังวล ต่างจากโสมคน ซึ่งหากใช้เกินขีดปริมาณที่กำหนด อาจเกิดผลข้างเคียงได้
       เจี่ยวกู้หลาน ใช้บำรุงร่างกาย ระงับประสาท ช่วยให้นอนหลับ ลดความตื่นเต้น ลดความดันโลหิต ลดคลอเรสเตอรอล ฟอสฟอไลปีด และกรมไขมันอิสระ ลดน้ำตาลในเลือด ชลอความชรา ยืดอายุของเซลเพิ่มจำนวนอสุจิ รักษาโรคปวดหัวข้างเดียว ช่วยควบคุมน้ำหนักได้โดยไม่ต้องอดอาหาร ช่วยสร้างภูมิต้านทานโรคต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
       "ประวัติของเจี่ยวกู่หลาน"
       ในปี 1977 มีคนจีนเป็นชายหนุ่มคนหนึ่ง ชื่อ ศิว์สื้อหมิงเป็นเภสัชกร จบจากมหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ปักกิ่ง เข้าได้ทำงานที่สถาบันวิจัยสมุนไพรนครอานดัง มลฑลส่านซี จนกระทั่งในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ปี 1982 เขาได้ลางานชั่วคราวจากเพื่อไปเยี่ยมบ้านที่อำเภอ ผิงลี่ ระยะทางไกลประมาณ 50 กม. ในช่วงที่เขามาพักผ่อนที่บ้าน ก็ได้ใช้เวลาเสาะแสวงหาสุมนไพรตัวใหม่ ๆ ในอำเภอผิงลี่โดยการไปพูดคุยกับชาวบ้าน และหมอพื้นบ้าน เพื่อหาข้อมูลของสมุนไพร เขาได้พบสมุนไพรตัวใหม่ชนิดหนึ่ง ที่ชาวบ้านเรียกว่า "เสี่ยวโหม่งจูเถิง" ซึ่งมีประสิทธิภาพในการรักษาชาวบ้านที่เป็นโรคไขมันสูงในเลือด และโรคความดันโลหิตสูง ได้อย่างดี เขาดีใจมากที่ได้รับการยืนยันจากหมอพื้นบ้านและผู้ป่วยว่าสมุนไพรชนิดนี้ให้ ผลการรักษาได้หลายโรคจริง ๆ มันเป็นยาสมุนไพรวิเศษถูกใจตามความคาดหวัง ที่เขาเสาะแสวงหามานานหลายสิบปีแล้ว เมื่อเขากลับไปที่ห้องทำงาน สถาบันวิจัยเดิมของเขา เขาก็ได้นำสมุนไพรดังกล่าวไปศึกษาวิจัยทันที ตามตำราแผนโบราณจีน หญ้าชนิดนี้เรียกว่า "เจี่ยวกู้หลาน" ซึ่งแรกเริ่มนั้น เจี่ยวกู้หลาน เป็นอาหารที่ชาวบ้านใช้รับประทาน แก้หิวยามฤดูแล้ง ได้มีการบันทึก ในตำราไว้ ใช้เป็นยาแก้ไอ แก้ร้อนในต่าง ๆ
       เจี่ยวกู้หลาน มีชื่อจีนหลายชื่อ เช่น ซิเย่ตั่น จิ้วฮวงเปิ้นเฉา และหนงจิ้งเฉวิยนหู แต่ชื่อทางวิทยาศาสตร์ คือ Gynostemmapen taphyllum Makino ในวงศ์ Cucurbitaceae ที่ญี่ปุ่นเรียกว่า อะมาซาซูรู (Amaehazuru) ในเมืองไทยเคยมีการนำจากประเทศญี่ปุ่น ไต้หวัน และจีน เข้าปลูกครั้งแรกในปี พ.ศ.2537 เรียกชื่อไทยว่า ชาปัญจขันธ์ ชาทิ กวนอิม หรือซาสตูล เพราะเคยนำมาปลูกที่จังหวัดสตูลได้ผลดีเป็นครั้งแรก ปัจจุบันมีการปลูกที่เชียงใหม่ เช่น ที่วัดอุโมงค์ สวนพุทธธรรมเชียงใหม่ สันกำแพง และในอีกหลายแห่งของประเทศ เจี่ยวกู้หลานเป็นพืชล้มลุกชนิดเถา เลื้อยขนานกับพื้นดิน รากงอกออกจากข้อเป็นประเภทแตงน้ำเต้า มีใบ 3-5 ใบ ด้านบน และด้านใต้ใบมีขนอ่อนสีขาวปกคลุม เป็นพืชที่ขึ้นตามธรรมชาติ เจริญงอกงามอยู่บนแถบเขตภูเขาฉินหลง และเขตมณฑลทางใต้ของแม่น้ำแยงซีเกียง โดยเฉพาะทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ สารสำคัญในเจี่ยวกู้หลานจะมีมาก อีกทั้งต้นก็เจริญเติบโตง่าย เจี่ยวกู้หลานจึงถูกขานชื่อว่าเป็น "โสมคนทางใต้"
       ในประเทศไทย ทางกระทรวงเกษตร ได้นำมาเผยแพร่นานแล้ว แต่อาจจะมีปัญหาในด้านการรักษาต้นพันธุ์ ยังไม่ค่อยแพร่หลายนัก เพราะเป็นพืชล้มลุกและตายง่าย ในฤดูฝนจะหยุดเจริญ ในขณะที่ส่วนใต้ดินยังจะเจริญดีอยู่ อย่างไรก็ตามมีผู้สนใจ และปลูกเจี่ยวกู้หลานในบางแห่ง เพื่อผลิตเป็นเครื่องดื่มมีรสชาติแตกต่างกันบ้าง รสหวานบ้าง รสขมบ้าง ในรูปของชาสมุนไพรเสริมสุขภาพ ออกจำหน่ายแล้ว ส่วนที่นำมาใช้ คือ ส่วนเหนือดินของพืชที่มีอายุ 4-5 เดือนขึ้นไป และเก็บจากต้นมาใช้ได้ 2-3 ครั้งต่อปี นอกจากนี้ องค์การเภสัชกรรม กระทรวงสาธารณสุขก็ได้มีการศึกษาปัจขันธ์ โดยการนำไปทำการแพร่พันธุ์แบบเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และนำไปปลูกได้ดี และศึกษาคุณสมบัติของส่วนประกอบสำคัญในด้านยา และเครื่องสำอางค์อยู่
       "ผลการวิจัยทางชีวภาพ"
       มีรายงานในประเทศจีน ว่า ส่วนก้านและใบของเจี่ยวกู้หลาน มีสารสำคัญ เช่น ซาโปนิน ซึ่งสามารถเสริมภูมิคุ้มกันในสัตว์ทดรองได้ชัดเจนมาก โดยการออกฤทธิ์ต่อต้านฤทธิ์กดภูมิคุ้มกันของยารักษามะเร็ง เช่น cyclophosphamide ทำให้น้ำหนักอวัยวะที่สร้างภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้น เพิ่ม hemolysin เพิ่มจำนวน natural killer cells ซึ่งมีหน้าที่ทำลายเซลล์มะเร็ง และทำให้ผู้ที่ทดลองที่ทานเข้าไปแข็งแรงไม่รู้สึกอ่อนเพลียง่ายและทนทานต่อ ภาวะ trypoxia
       "คุณสมบัติทางเภสัชและคลีนิค"
       การศึกษาด้านคลีนิคและด้านเภสัชศาสตร์ พบว่าเจี่ยวกู้หลานเป็นสมุนไพรที่มีความปลอดภัย และใช้รับประทานประจำได้ ไม่ว่าจะใช้ทั้งต้นและใบ หรือทำการสกัดออกมาได้มีการใช้ในโรคต่าง ๆ โรคเรื้อรัง และส่วนกระตุ้นประสาทไม่ทำให้มีความผิดปกติ หรืออาการแพ้ใด ๆ จากการทดลองพิสูจน์ว่า เจี่ยวกู้หลานที่สกัดออกมานั้นสามารถลดไตรกลีเซอร์ไรล์ ในเลือดของสัตว์ทดลองที่มีไขมันสูงได้ ลดสารที่ได้จากปฏิกิริยาออกซิเดซัน เช่น ลิปิดเปอร์ออกไซด์ คอเลสสเตอรอล ฟอสฟอไลปิด กรดไขมันอิสระ เพิ่มพลังกำลังของหัวใจขาดเลือด ชลอความชรา ยืดอายุของเซลล์ และเพิ่มจำนวนอสุจิ เป็นต้น
      ********************************

ขอบคุณ oknation สำหรับข้อมูล

EAKAPONG_36@hotmail.com Tel 087 959 9004

รอเมล็ดต่อนะครับ :sweating:

ไม่รู้ว่าเค้ามีเมล็ดหรือปล่าวนะเปิ้ล แต่ลุงโรส บอกชำด้วยเถา ผ่านมาโคราชมาเอาเลยนายเปิ้ล

EAKAPONG_36@hotmail.com Tel 087 959 9004

รอกินองุ่นดีกว่า หุหุหุ...

คิดให้แตกต่าง...แต่อย่าแตกแยก

หน้า