Tui
6 มิถุนายน, 2011 - 07:45
Permalink
ลุงแอ้ดขอบคุณมากครับ ข้อมูลดีมากๆ ผมอยู่ในพื้นที่เสี่ยงพอดี ตอนนี้ก็มีแผลที่มือ เวลาทำสวนพยายามไม้ให้โดนดิน เหมือนกัน เชื้อโรคนี้ อยู่ในน้ำเค็มด้วยเปล่าครับ แหล่งน้ำจืดส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่น้ำไหล จะมีป้ายเตือนเรื่องเชื้อแบคทีเลีย หลายตัวอ่านผ่านตาไม่เคยจำเลย ด้วยความที่ไม่ชอบเล่นน้ำบ่อ เลยไม่เคยลงเลยครับ ลงแต่น้ำทะเล ตอนนี้ทำสวนครัวเล็กๆ อากาศชื้นด้วยต้องระวังตัวให้มากขึ้นครับ ได้ทราบข้อมูลแบบนี้ก็เบาใจได้ป้องกัน และระวังได้ ขอบคุณจากใจเลยครับ เพราะผมอยู่ในพื้นที่เสี่ยง สีแดงเลย
ขอเป็นกำลังใจให้ลุงด้วยคนนะครับ สิ่งที่ลุงทำก่อให้เกิดประโยชน์กับคนสวนรวม มากมายจริงๆ
Yaaa
5 กรกฎาคม, 2011 - 17:32
‘ญาเองคะ อาจารย์ คงจำได้นะคะเพราะเวลาที่ร่วมงานกันก็ผ่านมานานหลายปีแล้ว ญาพึ่งรู้ว่าอาจารย์มี เรื่องนี้ด้วยจากที่คุณหมอดิเรกได้ส่งอีเมล์มาให้เข้าไปอ่าน ญาดีใจมากที่ญาเป็นส่วนหนึ่งในเรื่องราว ภูมิใจกับการได้เป็นเจ้าหน้าที่แลป ตอนนี้คิดถึงแลปที่อุบลมาก เพราะตอนนี้ญาย้ายมาอยู่ที่อังกฤษแล้ว ไม่รู้จะมีโอกาสได้ทำงานแบบเดิมอีกรึป่าวก็ไม่รู้ เรื่องราวที่อาจารย์เขียนมีประโยชน์มากกับคนที่ไม่รู้ .เดี๋ยวจะพยายามส่งลิ้งนี้ให้คนที่รู้จักในเวปที่ญาเป็นสมาชิกคนไทยในต่างแดน ขอบคุณมากมายสำหรับข้อมูลดีๆแบบนี้คะ
ลุงแอ้ด
6 มิถุนายน, 2011 - 08:52
ขอบคุณครับคุณ Tui สำหรับกำลังใจ ถ้าอยู่ในพื้นที่เสี่ยง แผลที่มือก็อย่าให้โดนดินนะครับ เคยเจอเชื้อในน้ำกล่อยนะครับ ในทะเลสาบสงขลา น้ำเค็มผมไม่แน่ใจนะครับ และตอนเกิด Tsunami ทางภาคใด้เมื่อหลายปีก่อนก็มีผู้ป่วยที่ติดเชื้อเมลิออยด์หลายคนมาก บางรายเป็นนักท่องเทียวชาวสวีเดน กลับไปป่วยที่ประเทศของเค้านะครับ ไม่แน่ใจว่าเกี่ยวข้องกับน้ำเค็มหรือเปล่าครับ
Lawan Kamsat
6 มิถุนายน, 2011 - 09:42
เขียนเรื่องของวิทยาศาสตร์ได้สนุกและได้ความรู้มากค่ะ
แถมประวัติศาสตร์นิดหน่อยด้วย
ขอบคุณที่ทุ่มเทเพื่อคนไทยและมนุษย์โลกค่ะ
6 มิถุนายน, 2011 - 12:03
ขอบคุณนะครับที่สนใจ ผมสนใจประวัติศาสตร์ด้วยครับ กำลังจะเขียนบทความเรื่องประวัติสาสตร์และโรคภัยไข้เจ็บครับ เคยคิดไหมครับว่า อะไรทำให้ชุมชนโบราณต้องย้ายถิ่นฐาน ส่วนใหญ่เกิดโรคระบาดครับ ที่ตัวปราสาทเขาพนมรุ้งมีรูปปั้นเล็กๆประดับตรงยอดปราสาท เป็นรูปคนเจ็บป่วยจำนวนมาก และมีหมอยามาดูแล ผมอยากจะรู้อย่างมากว่าโรคที่เค้าป่วยกันในสมัยนั้นคือโรคอะไร ในรูปปั้นนั้นมีหมอยามาจับอยู่ที่ขาคนป่วย ต้องทำการศึกษาอีกเยอะถึงจะหาคำตอบได้ และก็เล่าเรื่องได้
ย่าวรรณ
6 มิถุนายน, 2011 - 09:52
ลุงแอ้ดมากๆค่ะที่ทุมเททำงานวิจัย เพื่อคนชนบท คนที่ทำเกษตรเพื่อเลี้ยงชีพ เห็นภาพแล้วมีความสุขที่เห้นการทุ่มเททำงานของลุงแอ้ด ยิ่งภาพทุ่งนาเมืองอุบลก็เป็นภาพที่ชินตาเพราะย่าวรรณเป็นคนอุบลค่ะ
6 มิถุนายน, 2011 - 11:54
ย่าวรรณครับ เมืองอุบลฯน่าอยู่มากครับ วัดเยอะมากๆด้วยครับ เดี๋ยวจะกลับไปอีกครับ
lekonshore
6 มิถุนายน, 2011 - 09:56
ที่ทำเพื่อมวลมนุษย์ และขอเป็นกำลังใจให้ประสบผลสำเร็จนะค่ะ จะคอยติดตามอ่านค่ะ
msn:lekonshore@hotmail.com
ชีวิตคนเรานั้นสั้นนัก จงมีความสุข สนุกกับชีวิต อย่ามัวคิดอิจฉาใคร
6 มิถุนายน, 2011 - 11:50
ขอบคุณนะครับคุณเล็กที่เข้ามาอ่าน เรื่องมันยาวไปหน่อยครับ แต่คิดว่าคงมีประโยชน์ครับ
denjung
6 มิถุนายน, 2011 - 10:21
ขอชื่นชมในความทุ่มเทเพื่อมวลมนุษย์ครับ อโรคยา ปรมา ลาภา ความไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ ไม่ทราบว่า ที่อำเภอเมืองขอนแก่น มีการระบาดของโรคนี้ไหมครับ
สิ่งไหนที่ยังไม่ทำ อย่าเพิ่งสรุปว่าไม่สำเร็จ
There are currently 0 users online.
ความเห็น
Tui
6 มิถุนายน, 2011 - 07:45
Permalink
ลุงแอ้ดขอบคุณมากครับ
ลุงแอ้ดขอบคุณมากครับ ข้อมูลดีมากๆ ผมอยู่ในพื้นที่เสี่ยงพอดี ตอนนี้ก็มีแผลที่มือ เวลาทำสวนพยายามไม้ให้โดนดิน เหมือนกัน เชื้อโรคนี้ อยู่ในน้ำเค็มด้วยเปล่าครับ แหล่งน้ำจืดส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่น้ำไหล จะมีป้ายเตือนเรื่องเชื้อแบคทีเลีย หลายตัวอ่านผ่านตาไม่เคยจำเลย ด้วยความที่ไม่ชอบเล่นน้ำบ่อ เลยไม่เคยลงเลยครับ ลงแต่น้ำทะเล ตอนนี้ทำสวนครัวเล็กๆ อากาศชื้นด้วยต้องระวังตัวให้มากขึ้นครับ ได้ทราบข้อมูลแบบนี้ก็เบาใจได้ป้องกัน และระวังได้ ขอบคุณจากใจเลยครับ เพราะผมอยู่ในพื้นที่เสี่ยง สีแดงเลย
ขอเป็นกำลังใจให้ลุงด้วยคนนะครับ สิ่งที่ลุงทำก่อให้เกิดประโยชน์กับคนสวนรวม มากมายจริงๆ
Yaaa
5 กรกฎาคม, 2011 - 17:32
Permalink
สวัสดีคะอาจารย์
‘ญาเองคะ อาจารย์ คงจำได้นะคะเพราะเวลาที่ร่วมงานกันก็ผ่านมานานหลายปีแล้ว
ญาพึ่งรู้ว่าอาจารย์มี เรื่องนี้ด้วยจากที่คุณหมอดิเรกได้ส่งอีเมล์มาให้เข้าไปอ่าน
ญาดีใจมากที่ญาเป็นส่วนหนึ่งในเรื่องราว ภูมิใจกับการได้เป็นเจ้าหน้าที่แลป
ตอนนี้คิดถึงแลปที่อุบลมาก เพราะตอนนี้ญาย้ายมาอยู่ที่อังกฤษแล้ว ไม่รู้จะมีโอกาสได้ทำงานแบบเดิมอีกรึป่าวก็ไม่รู้
เรื่องราวที่อาจารย์เขียนมีประโยชน์มากกับคนที่ไม่รู้
.เดี๋ยวจะพยายามส่งลิ้งนี้ให้คนที่รู้จักในเวปที่ญาเป็นสมาชิกคนไทยในต่างแดน
ขอบคุณมากมายสำหรับข้อมูลดีๆแบบนี้คะ
ลุงแอ้ด
6 มิถุนายน, 2011 - 08:52
Permalink
ขอบคุณครับคุณ Tui
ขอบคุณครับคุณ Tui สำหรับกำลังใจ ถ้าอยู่ในพื้นที่เสี่ยง แผลที่มือก็อย่าให้โดนดินนะครับ เคยเจอเชื้อในน้ำกล่อยนะครับ ในทะเลสาบสงขลา น้ำเค็มผมไม่แน่ใจนะครับ และตอนเกิด Tsunami ทางภาคใด้เมื่อหลายปีก่อนก็มีผู้ป่วยที่ติดเชื้อเมลิออยด์หลายคนมาก บางรายเป็นนักท่องเทียวชาวสวีเดน กลับไปป่วยที่ประเทศของเค้านะครับ ไม่แน่ใจว่าเกี่ยวข้องกับน้ำเค็มหรือเปล่าครับ
Lawan Kamsat
6 มิถุนายน, 2011 - 09:42
Permalink
ลุงแอ้ด
เขียนเรื่องของวิทยาศาสตร์ได้สนุกและได้ความรู้มากค่ะ
แถมประวัติศาสตร์นิดหน่อยด้วย
ขอบคุณที่ทุ่มเทเพื่อคนไทยและมนุษย์โลกค่ะ
ลุงแอ้ด
6 มิถุนายน, 2011 - 12:03
Permalink
คุณ Lawan Kamsat
ขอบคุณนะครับที่สนใจ ผมสนใจประวัติศาสตร์ด้วยครับ กำลังจะเขียนบทความเรื่องประวัติสาสตร์และโรคภัยไข้เจ็บครับ เคยคิดไหมครับว่า อะไรทำให้ชุมชนโบราณต้องย้ายถิ่นฐาน ส่วนใหญ่เกิดโรคระบาดครับ ที่ตัวปราสาทเขาพนมรุ้งมีรูปปั้นเล็กๆประดับตรงยอดปราสาท เป็นรูปคนเจ็บป่วยจำนวนมาก และมีหมอยามาดูแล ผมอยากจะรู้อย่างมากว่าโรคที่เค้าป่วยกันในสมัยนั้นคือโรคอะไร ในรูปปั้นนั้นมีหมอยามาจับอยู่ที่ขาคนป่วย ต้องทำการศึกษาอีกเยอะถึงจะหาคำตอบได้ และก็เล่าเรื่องได้
ย่าวรรณ
6 มิถุนายน, 2011 - 09:52
Permalink
ขอบคุณ
ลุงแอ้ดมากๆค่ะที่ทุมเททำงานวิจัย เพื่อคนชนบท คนที่ทำเกษตรเพื่อเลี้ยงชีพ เห็นภาพแล้วมีความสุขที่เห้นการทุ่มเททำงานของลุงแอ้ด ยิ่งภาพทุ่งนาเมืองอุบลก็เป็นภาพที่ชินตาเพราะย่าวรรณเป็นคนอุบลค่ะ
ลุงแอ้ด
6 มิถุนายน, 2011 - 11:54
Permalink
ย่าวรรณครับ
ย่าวรรณครับ เมืองอุบลฯน่าอยู่มากครับ วัดเยอะมากๆด้วยครับ เดี๋ยวจะกลับไปอีกครับ
lekonshore
6 มิถุนายน, 2011 - 09:56
Permalink
ขอบคุณลุงแอ๊ด
ที่ทำเพื่อมวลมนุษย์ และขอเป็นกำลังใจให้ประสบผลสำเร็จนะค่ะ จะคอยติดตามอ่านค่ะ
msn:lekonshore@hotmail.com
ชีวิตคนเรานั้นสั้นนัก จงมีความสุข สนุกกับชีวิต อย่ามัวคิดอิจฉาใคร
ลุงแอ้ด
6 มิถุนายน, 2011 - 11:50
Permalink
ขอบคุณนะครับคุณเล็กที่เข้ามาอ
ขอบคุณนะครับคุณเล็กที่เข้ามาอ่าน เรื่องมันยาวไปหน่อยครับ แต่คิดว่าคงมีประโยชน์ครับ
denjung
6 มิถุนายน, 2011 - 10:21
Permalink
ขอชื่นชมในความทุ่มเทเพื่อมวลม
ขอชื่นชมในความทุ่มเทเพื่อมวลมนุษย์ครับ อโรคยา ปรมา ลาภา ความไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ ไม่ทราบว่า ที่อำเภอเมืองขอนแก่น มีการระบาดของโรคนี้ไหมครับ
สิ่งไหนที่ยังไม่ทำ อย่าเพิ่งสรุปว่าไม่สำเร็จ
หน้า